วันเสาร์, เมษายน 20, 2567

ข้อควรรู้ก่อนลงทุนในเมียนมา

by Smart SME, 17 มีนาคม 2560

เมียนมา หนึ่งในประเทศสมาชิกใน AEC ที่ใครหลายคนอยากเข้าไปลงทุน ก่อนที่จะถึงขั้นนั้นเรามาศึกษาดูข้อมูลของเมียนมาก่อนว่าเป็นอย่างไร รู้เขา รู้เรา ครับ กฎหมายและข้อบังคับ ด้วยประวัติศาสตร์ กฎหมายและข้อบังคับของเมียนมาในการจัดตั้งบริษัทที่ค่อนข้างเข้าใจยาก โดยมี 11 ขั้นตอนด้วยกัน สำหรับนักลงทุนต่างชาติจะต้องร่วมทุนเป็นพาร์ทเนอร์กับบริษัทในท้องถิ่น และล่าสุดในปี 2015 จากการสำรวจของ World Bank ถูกจัดอันดับอยู่ที่ 177 จาก 189 ของประเทศ ที่มีความสะดวกในการทำธุรกิจ โครงสร้างพื้นฐานที่ล้าสมัย มีความสับสนระหว่างการเข้ารหัสตัวอักษร Zawgyi และการเข้ารหัสระหว่างประเทศ Unicode ซึ่งทั้งสองไม่สามารถเข้ากันได้ทำให้เกิดความยากลำบากในการใช้ซอฟแวร์ท้องถิ่น,การทำ search engines และสินค้าออนไลน์อื่นๆเพื่อดึงดูดผู้บริโภคทั่วโลก อีกทั้งแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าก็ยังคงไม่แน่นอน อุปสรรคทางวัฒนธรรม ผู้ประกอบการต่างชาติที่เข้ามามักไม่ได้ถูกยอมรับเสมอไป มีผู้ก่อตั้งธุรกิจจำนวนไม่มากที่จะดำเนินกิจการได้เป็นระยะเวลานานและเป็นชิ้นเป็นอันสักเท่าไร   ทรัพยากรมนุษย์ที่ขาดแคลน กฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง ทำให้แรงงานที่มีทักษะกำลังมองหาเงินเดือนสูงไหลออกสู่ต่างประเทศ ในขณะเดียวกันระบบการศึกษาไม่ได้ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพเพื่อเติมเต็มในงานด้านไอที  

Mostview

นวัตกรรมชีวเคมี นำแบคทีเรียสร้างเซลลูโลส ส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียน

นักวิจัยจากจุฬาฯ สร้างนวัตกรรม ‘เซลลูโลส’ จากแบคทีเรีย ทดแทนการนำเข้านับหมื่นล้านบาท ช่วย เศรษฐกิจหมุนเวียน และเป็น zero waste ภายใต้สิทธิบัตร ‘เซลโลกัม’

SOURCE Global บริษัทผู้ใช้แผงโซลาร์เซลล์เปลี่ยนอากาศให้กลายเป็นน้ำดื่ม แก้ปัญหาขาดแคลนน้ำ

ท่ามกลางอากาศที่แห้งแล้งในทะเลทรายของลาสเวกัส ดูเหมือนจะเป็นเรื่องยากกับการแหล่งน้ำที่มีความอุดมสมบูรณ์รอบบริเวณที่มีอยู่ โดยทางตอนใต้ของเนวาดากำลังเผชิญภัยแล้งที่เลวร้ายที่ครั้งในประวัติศาสตร์ที่ต้องบันทึกไว้ จนนำไปสู่การขาดแคลนน้ำ และข้อจำกัดในการใช้

Asahi เพิ่มการผลิตเครื่องดื่มไร้แอลกอฮอล์ ชูเป็นสินค้าหลัก หลังคนญี่ปุ่นดื่มเบียร์น้อยลง

Asahi แบรนด์ผู้ผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เตรียมดันการผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ให้มากขึ้นกว่าเดิม หวังสร้างยอดขายในสัดส่วน 50% ภายในปี 2040

SmartSME Line