วันเสาร์, พฤษภาคม 18, 2567

ความต่างของร้านอาหารแบบบริการตัวเอง 3 ประเภท

by Smart SME, 25 กุมภาพันธ์ 2560

  1. Fast Food หรือ QSR (Quick Service Restaurant)
ร้านอาหารที่บริการเร็ว บริการสั่งอาหารและจ่ายเงินที่เคาน์เตอร์เท่านั้น เช่น แมคโดนัลด์. เคเอฟซี ซึ่งมีลักษณะเหมือนกัน คือ ลูกค้าดูเมนูบอร์ดเหนือหัว สั่งอาหารและรับอาหาร ที่เคาน์เตอร์เดียวกัน  ร้านอาหารประเภทนี้จะมีการบริหารจัดการแบบหนึ่งที่คล้ายกันหมดจึงบริหารง่ายทุกคนทำต่อได้ทั้งยังลงทุนในด้านวัตถุดิบน้อยเพราะเป็นเมนูที่ตายตัวไม่ยุงและซับซ้อน
  1. Half Service
การสั่งอาหารที่โต๊ะและไปจ่ายเงินที่แคชเชียร์ ซึ่งลักษณะนี้จะพบได้ในแบรนด์อย่าง สเวนเซนส์, ยาโยอิ ภาพรวมก็คือ Table Service ซึ่งทั้งนี้รวมถึงการสั่งอาหารที่โต๊ะและการจ่ายเงินที่โต๊ะ ก็จะเป็นลักษณะเดียวกัน จะเรียกการให้บริการแบบนี้ว่า Full Service ท่านสังเกตเห็นไหมว่า มันมีรูปแบบการจัดการที่ช่วยลดพนักงานดูแลโต๊ะลงได้ ทั้งยังเหมาะกับกลุ่มลูกค้าที่อิสระ คล่องตัวแบบกลุ่ม millennials aged (อายุ 19 – 35 ปี) เป็นอย่างยิ่ง
  1. Self service
รูปแบบเหมือนร้านบุฟเฟต์ ที่ลูกค้าจะบริการตัวเองด้วยการตัก,เติมและกลับมานั่งทานที่โต๊ะ ลักษณะการให้บริการแบบนี้คล้ายกับการไปรับประทานในโรงอาหาร เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น ก็เช่นร้านกาแฟ อินเตอร์แบรนด์อย่าง สตาร์บัคส์, โอปองแปง หรือร้านบุฟเฟต์อย่างชาบูชิ

Mostview

คนไทย 30% ไม่มีเงินเก็บสำหรับการเกษียณ และ 60% มีเงินเก็บไม่ถึง 200,000 บาท

ภายในงาน KKP Financial Talk: Money Master #เรื่องเงินอย่าปล่อยให้รู้งี้ ซึ่งมีการพูดถึงปัญหาและคำแนะนำให้กับ Sandwich Generation ผู้แบกภาระการดูแลทั้งคนรุ่นก่อน และรุ่นหลังไว้ ในขณะที่เศรษฐกิจไม่เกื้อหนุนให้พวกเขาได้สบายขึ้น

กล้าพอไหม! Airbnb เปิดให้เข้าพักบ้านลอยฟ้า มีลูกโป่งกว่า 8,000 ใบ โยงติดอยู่บนหลังคา

หากอยากจะทำอะไรตื่นเต้นต้องมาทางนี้ เมื่อ Airbnb แพลตฟอร์มจองที่พักได้เปิดตัวโปรเจคต์ “Icon” เพื่อสร้างประสบการณ์พักผ่อนให้กับลูกค้า เปลี่ยนสิ่งที่เป็นเรื่องมหัศจรรย์ให้กลายเป็นความจริง

ซีพีออลล์ ทำรายได้ไตรมาส 1/2567 รวม 241,307 ล้านบาท กำไรสุทธิ 6,319 ล้านบาท

บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) รายงานผลประกอบการในไตรมาส 1/2567 พบว่าบริษัทมีรายได้รวม 241,307 ล้านบาท มีกำไรสุทธิ 6,319 ล้านบาท

6 วิธีสร้างแนวคิดอย่างยั่งยืนให้ธุรกิจของคุณ แถมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับแบรนด์

การยึดมั่นในเรื่องของความยั่งยืนไม่ได้เป็นประโยชน์กับสภาพแวดล้อม และเศรษฐกิจท้องถิ่นเท่านั้น แต่ยังส่งผลเชิงบวกให้กับแบรนด์อีกด้วย ดังนั้น เรามาดูกลยุทธ์ทางธุรกิจที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่คนเป็นผู้ประกอบการสามารถนำไปปรับใช้กับธุรกิจได้ ผ่านวิธีการเหล่านี้

SmartSME Line